การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนสู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อชุมชน

https://sites.google.com/kksec.go.th/innaraoecd/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

14691029_1249774571753201_4397432813243242271_n

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

STEM Education

           โรงเรียนฝางวิทยายน  ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนทดลองวิจัยนำร่อง  การจัดทำแนวการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และกลุ่มคณิตศาสตร์ (STEM Education) ในกลุ่มย่อยวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) โดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานภาพนิ่ง1ภาพนิ่ง5

กลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอน STEM Education อ่านเพิ่มเติม

โพสท์ใน บทความทางวิชาการ, Uncategorized | ติดป้ายกำกับ , , | ใส่ความเห็น

บทสรุป PLC-KKSec 25 Model (ระยะที่ 3)

บทสรุป PLC-KKsec25 Model_Phase3_1_2561 (1)

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

การศึกษาในศตรวรรษที่ 21

21st Century Skills

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

ถอดรหัสการศึกษาไทย

        ถอดรหัสการศึกษาไทย

            ในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันในวงการศึกษาของบ้านเรามีการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะในเรื่องของการปฏิรูปการเรียนรู้  ได้มีคำพูดที่เป็นสโลแกนของการปฎิรูปการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้โดยมีนักเรียนเป็นศูนย์กลาง(Child Center)  การเรียนรู้แบบ Active Learning ฯลฯ  แท้จริงแล้วคำเหล่านี้มีที่มาจากแนวคิด หลักการเดียวกันแทบทั้งสิ้น

อ่านเพิ่มเติม

โพสท์ใน บทความทางวิชาการ | ติดป้ายกำกับ | ใส่ความเห็น

PBL4.0

pbl-4-0-1

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

การถอดบทเรียน STEM Education (โรงเรียนฝางวิทยายน)

งานนำเสนอ1

STEM Education ฝางวิทยายน_ถอดบทเรียน

โพสท์ใน Uncategorized | ใส่ความเห็น

องค์ประกอบของโครงงานที่มุ่งเน้นการสร้างสรรค์ชิ้นงาน

ความแตกต่างระหว่าง 2 หลักการ

ความแตกต่างระหว่าง 2 หลักการ

ภาพจาก : https://www.linkedin.com/topic/constructivism

          โครงงานมีหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยมีความสัมพันธ์กับความเป็นจริงในประเด็นหรือหัวข้อที่นักเรียนสนใจ  สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน  เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดในการผลิตผลงาน  และแสดงต่อสาธารณชน  โดยนักเรียนต้องเป็นผู้ลงมือปฏิบัติโครงงานด้วยตนเองโดยการอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้ เพื่อสร้างชิ้นงานที่มีความหมายต่อตนเอง  ซึ่งมี  7  องค์ประกอบ  ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม

โพสท์ใน บทความทางวิชาการ, Uncategorized | ใส่ความเห็น

องค์ประกอบของสื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้ในการเรียนการสอน

bloom pyramid

ภาพจาก : http://digitallearningworld.com/ อ่านเพิ่มเติม

โพสท์ใน บทความทางวิชาการ, Uncategorized | ใส่ความเห็น

ฝางวิทย์โมเดล(Fangwit Model)

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้เครือข่ายสังคมการเรียนรู้โรงเรียนฝางวิทยายน
Development Instructional Model Using Social Networking of Fangwittayayon School

unnamed

นายคเชนทร์  กองพิลา
ตำแหน่ง  ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนฝางวิทยายน อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น (สพม.25)
โทรศัพท์ : 081-2629538  E-mail : kruaeok53@fangwit.ac.th

บทคัดย่อ อ่านเพิ่มเติม

โพสท์ใน บทความทางวิชาการ, Uncategorized | ใส่ความเห็น